มาตราแม่ เพลง แม่ ก กา

มาตราแม่ เพลง แม่ ก กา มาตราแม่ ก กา คือ คำที่ไม่มีตัวสะกด จะเป็นสระเสียงสั้นหรือสระเสียงยาวก็ได้ ตัวอย่างคำ แม่ ก กา เช่น แม่ กา ตะกร้า อารี อาสา โลเล ท่าที พ่อครัว ผู้ดี ตอแย ถือตัว คู่หู ข้อเสนอ สาขา เวลา โอ้เอ้ มือถือ เกเร แม่ค้า ธารา เฮฮา ดารา นาที สูส แม่ ก กา มาตราแม่ เพลง แม่ ก กา แม่ไก่อยู่ในตะกร้า ไข่ๆ มาสี่ห้าใบ อีแม่กาก็มาไล่ อีแม่ไก่ไล่ตีกา หมาใหญ่ก็ไล่เห่า หมูในเล้าแลดูหมา […]

มาตราตัวสะกด 9 มาตรามีตัวอะไรบ้าง

มาตราตัวสะกด 9 มาตรามีตัวอะไรบ้าง มาตราตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ผสมอยู่ข้างหลังคำหรือพยางค์ ทำหน้าที่บังคับเสียงให้เป็นไปตามมาตราต่าง ๆ มีทั้งหมด 8 มาตรา ได้แก่ แม่กก แม่กง แม่กด แม่กน แม่กบ แม่กม แม่เกย และแม่เกอว โดยสามารถแบ่งได้เป็นมาตราตัวสะกดตรงมาตรา และมาตราตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา บทความสรุปมาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกด 9 มาตรามีตัวอะไรบ้าง มาตราตัวสะกด 9 มาตรามีตัวอะไรบ้าง ตัวสะกดและมาตราตัวสะกดคืออะไร แม่ ก กา คืออะไร มาตราตัวสะกดมีกี่มาตรา มาตราตัวสะกดตรงมาตรา แม่กง แม่กม แม่เกย แม่เกอว มาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา แม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ สื่อการสอนและใบงานมาตราตัวสะกด ตัวสะกดและมาตราตัวสะกดคืออะไร ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ตัวสะกด คือ พยัญชนะท้ายคำหรือพยางค์ที่ทำหน้าที่บังคับเสียงให้เป็นไปตามมาตราต่าง ๆ […]

วรรณยุกต์ไทย

วรรณยุกต์ไทย วรรณยุกต์ หมายถึง เครื่องหมายที่แสดงเสียงสูง ต่ำ ของคำในภาษาไทย มี ๔ รูป คือ เอก โท ตรี จัตวา ่ ้ ๊ ๋ ในภาษาไทยคำทุกคำเมื่อใส่วรรณยุกต์เข้าไปแล้ว จะทำให้อ่านออกเสียงต่างกัน และความหมายของคำก็จะเปลี่ยนไปด้วย เช่น คำ ่ (เอก) ้ (โท) ๊ (ตรี) ๋ (จัตวา) ตี ตี่ ตี้ ตี๊ ตี๋ ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า เกา เก่า เก้า เก๊า เก๋า อาน อ่าน อ้าน อ๊าน อ๋าน วรรณยุกต์ไทย อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ วรรณยุกต์ไทย […]

สระ ภาษา ไทย

สระ ภาษา ไทย สระ หมายถึง เครื่องหมายใช้แทนเสียงที่เปล่งออกมา ตามหลักภาษา ถือว่าพยัญชนะจำเป็นต้องอาศัยสระจึงจะออกเสียงได้ สระ ภาษา ไทย รูปสระ สระ ภาษา ไทย รูปสระในภาษาไทยมี 21 รูป ซึ่งรูปสระเหล่านี้จะนำไปประกอบเป็นรูปสระที่ใช้แทนเสียงสระ ะ เรียกว่า วิสรรชนีย์ หรือ นมนางทั้งคู่  ั เรียกว่า ไม้หันอากาศ, หางกังหัน หรือ ไม้ผัด  ็ เรียกว่า ไม้ไต่คู้ หรือ ไม้ตายคู้ า เรียกว่า ลากข้าง  ิ เรียกว่า พินทุ์อิ หรือ พินทุอิ  ่ เรียกว่า ฝนทอง  ํ เรียกว่า นิคหิต, นฤคหิต หรือ หยาดน้ำค้าง “ เรียกว่า ฟันหนู หรือ มูสิกทันต์  ุ เรียกว่า ตีนเหยียด หรือ ลากตีน  ู เรียกว่า ตีนคู้ เ เรียกว่า […]

พยัญชนะไทย สระ คืออะไร

พยัญชนะไทย สระ พยัญชนะไทย คือ เครื่องหมายหรือตัวอักษร ก-ฮ ที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะในภาษาไทย เพื่อนำไปประกอบเป็นคำที่มีความหมายสำหรับใช้สื่อสาร เสียงของพยัญชนะ หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมา โดยจะแตกต่างกันออกไปตามการถูกสกัดกั้นด้วยอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง ทำให้ได้เสียงที่หลากหลาย พยัญชนะไทยจะอ่านและเขียนโดยเรียงจากซ้ายไปขวา ขณะที่สระอาจวางอยู่ด้านหน้า หลัง บน หรือ ล่างพยัญชนะเพื่อประกอบเป็นคำ ทั้งนี้แล้วแต่ชนิดของสระ พยัญชนะไทย สระ มีกี่ตัวและมีตัวอักษรอะไรบ้าง พยัญชนะไทย สระ ตัวอักษรไทยหรือพยัญชนะไทยมีทั้งหมด 44 ตัว ก-ฮ หรือ 44 รูป 21 เสียง ดังต่อไปนี้ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด […]